6 เมษายน 2556
น้ำนมแม่ของหนูดีที่สุด
น้ำนมแม่ของหนูดีที่สุด
“นมมารดา” เป็นอาหารที่ดีที่สุดสำหรับทารกแรกเกิด สำหรับคุณแม่
จำเป็นต้องมีการบีบน้ำนมออกจากเต้าทุก ๆ 3 ชั่วโมง
เพื่อส่งผลต่อการเพิ่มการผลิตน้ำนมและป้องกันและแก้ไขเต้านมคัด โดยปกติ
ปริมาณน้ำนมที่ผลิตจะขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำนมที่หลั่งออกจากเต้า มารดาบางคนมีปัญหาหาในการบีบน้ำนม
แต่ทารกไม่มีปัญหาได้รับน้ำนมไม่พอเพราะปริมาณน้ำนมที่บีบได้ไม่ได้ขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำนมที่ผลิต
จึงไม่อาจใช้ปริมาณน้ำนมที่บีบได้เพียงอย่างเดียวเพื่อบอกว่ามารดามีน้ำนมเพียงพอหรือไม่
เคล็ดลับบีบน้ำนมจากเต้า
1. ล้างมือด้วยสบู่ให้สะอาด
2. นั่งให้สบายในที่ที่สงบ เพราะความสบายใจจะช่วยให้น้ำนมหลั่งมากขึ้น
3. ใช้ผ้าชุบน้ำอุ่นประคบเต้านมประมาณ 3-5 นาทีก่อนบีบเพื่อให้รู้สึกสบาย และลดการคัดเต้านม
4. นวดรอบ ๆ เต้านมและใช้นิ้วมือเขี่ยเต้านมเบา ๆ จากขอบนอกของเต้านมสู่หัวนมเพื่อให้รู้สึกสบาย
5. กระตุ้นหัวนมโดยใช้นิ้วมือดึงและคลึงหัวนม
6. วางหัวแม่มือไว้ที่ลานขอบหัวนม และนิ้วมืออีก 4 นิ้วไว้ใต้เต้านมที่ขอบลานหัวนม
7. กดนิ้วเข้าหากระดูกทรวงอก แล้วบีบนิ้วหัวแม่มือและนิ้วทั้ง 4 เข้าหากันโดยเคลื่อนหัวแม่มือมาทางด้านหน้าเล็กน้อยแต่ไม่เลยขอบลานหัวนม
8. คลายนิ้วที่บีบ ให้ตำแหน่งวางนิ้วมืออยู่ที่เดิม บีบเป็นจังหวะ ย้ายตำแหน่งที่วางนิ้วมือรอบ ๆ เต้านมเพื่อบีบน้ำนมออกให้หมดทุกแห่ง
9. บีบน้ำนมใส่ภาชนะไร้เชื้อที่เป็นแก้วหรือพลาสติกแข็ง
10. เปลี่ยนไปบีบที่อีกเต้านมทุก 5 นาที หรือเมื่อน้ำนมเริ่มไหลช้า เพื่อให้น้ำนมหลั่งออกจากเต้านมทั้ง 2 ข้าง เมื่อบีบน้ำนมเสร็จให้หยดน้ำนมลงบนหัวนม 2-3 หยด แล้วปล่อยให้แห้ง เพื่อป้องกันหัวนมเป็นแผล
** ข้อ 3-5 อาจไม่จำเป็นต้องปฏิบัติหากไม่มีปัญหาเต้านมคัด**
เก็บน้ำนมอย่างไรได้คุณค่าเหมือนเดิม
• ต้องบีบลงภาชนะไร้เชื้อที่เป็นแก้วหรือพลาสติกเท่านั้น
• น้ำนมที่เก็บในภาชนะควรเท่ากับปริมาณที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ
• ปิดฝาภาชนะให้สนิททันทีที่บีบน้ำนมเสร็จ พร้อมเขียนวัน เวลา และปริมาณนมที่ข้างภาชนะ
• เก็บไว้บนช่องแช่แข็ง อย่าวางที่ประตูตู้เย็น
เตรียมน้ำนมเสร็จแล้ว ถึงเวลาป้อนให้เจ้าตัวน้อย และภาชนะที่เหมาะที่สุดก็คือ “ถ้วย” ทำไมต้องป้อนด้วยถ้วย ก็เพราะ
1. ทารกจะได้ฝึกการใช้ลิ้นและริมฝีปาก
2. ทารกสามารถกำหนดความเร็วของการให้นมและปริมาณน้ำนมด้วยตนเอง
3. ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างการดูด/ซด/กลืน รวมทั้งการหายใจ
4. หลีกเลี่ยงการสับสนระหว่างหัวนมกับจุกนม
5. ลดการปนเปื้อนจุลินทรีย์เพราะถ้วยทำความสะอาดง่ายกว่าขวดนม
วิธีป้อนนมด้วยถ้วย
1. ห่อทารกให้แน่นหนาเพราะทารกอาจดิ้นและปัดถูกถ้วย
2. ประคองทารกให้อยู่ในท่านั่งตัวตรง หรือกึ่งนั่งกึ่งนอนบนตักผู้ป้อน
3. ให้มีปริมาณน้ำนมอย่างน้อยครึ่งแก้วตลอดเวลาที่ป้อน (หากสามารถทำได้)
4. วางปากถ้วยบนริมฝีปากล่าง เอียงถ้วยให้นมสัมผัสปากทารก ห้ามเทน้ำนมเข้าปากทารกเด็ดขาด
ข้อควรระวัง …ต้องวางถ้วยให้อยู่ในตำแหน่งเดิมตลอดเวลาของการป้อน
ทารกจะเจริญเติบโตแข็งแรง มีพัฒนาการทางสมอง ต้องอาศัยคุณแม่ดูแลตั้งแต่แบเบาะ และอย่าลืมนะครับว่าการให้นมลูกด้วยตัวเองนอกจากเราจะดูแลเรื่องความสะอาด ปลอดภัยแล้ว คุณแม่และทารกยังได้ประสานสายตาส่งความรักถึงกันและกันตามประสาแม่ลูกได้เป็นอย่างดี
• ต้องบีบลงภาชนะไร้เชื้อที่เป็นแก้วหรือพลาสติกเท่านั้น
• น้ำนมที่เก็บในภาชนะควรเท่ากับปริมาณที่ทารกต้องการในแต่ละมื้อ
• ปิดฝาภาชนะให้สนิททันทีที่บีบน้ำนมเสร็จ พร้อมเขียนวัน เวลา และปริมาณนมที่ข้างภาชนะ
• เก็บไว้บนช่องแช่แข็ง อย่าวางที่ประตูตู้เย็น
เตรียมน้ำนมเสร็จแล้ว ถึงเวลาป้อนให้เจ้าตัวน้อย และภาชนะที่เหมาะที่สุดก็คือ “ถ้วย” ทำไมต้องป้อนด้วยถ้วย ก็เพราะ
1. ทารกจะได้ฝึกการใช้ลิ้นและริมฝีปาก
2. ทารกสามารถกำหนดความเร็วของการให้นมและปริมาณน้ำนมด้วยตนเอง
3. ช่วยพัฒนาความสัมพันธ์ระหว่างการดูด/ซด/กลืน รวมทั้งการหายใจ
4. หลีกเลี่ยงการสับสนระหว่างหัวนมกับจุกนม
5. ลดการปนเปื้อนจุลินทรีย์เพราะถ้วยทำความสะอาดง่ายกว่าขวดนม
วิธีป้อนนมด้วยถ้วย
1. ห่อทารกให้แน่นหนาเพราะทารกอาจดิ้นและปัดถูกถ้วย
2. ประคองทารกให้อยู่ในท่านั่งตัวตรง หรือกึ่งนั่งกึ่งนอนบนตักผู้ป้อน
3. ให้มีปริมาณน้ำนมอย่างน้อยครึ่งแก้วตลอดเวลาที่ป้อน (หากสามารถทำได้)
4. วางปากถ้วยบนริมฝีปากล่าง เอียงถ้วยให้นมสัมผัสปากทารก ห้ามเทน้ำนมเข้าปากทารกเด็ดขาด
ข้อควรระวัง …ต้องวางถ้วยให้อยู่ในตำแหน่งเดิมตลอดเวลาของการป้อน
ทารกจะเจริญเติบโตแข็งแรง มีพัฒนาการทางสมอง ต้องอาศัยคุณแม่ดูแลตั้งแต่แบเบาะ และอย่าลืมนะครับว่าการให้นมลูกด้วยตัวเองนอกจากเราจะดูแลเรื่องความสะอาด ปลอดภัยแล้ว คุณแม่และทารกยังได้ประสานสายตาส่งความรักถึงกันและกันตามประสาแม่ลูกได้เป็นอย่างดี
ที่มา ศ.นพ.เกรียงศักดิ์
จีระแพทย์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
ภาควิชากุมารเวชศาสตร์
Faculty
of Medicine Siriraj Hospital
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
คณะแพทยศาสตร์ศิริราชพยาบาล
สมัครสมาชิก:
ส่งความคิดเห็น (Atom)
รู้จักพวกเรา
แจก แบบฝึกคณิตศาสตร์ แบบทดสอบ แบ่งปัน สำหรับเพื่อน วัยเด็ก
From January 2, 2013 |
ค้นหา เนื้อหาใน Web นี้
Blog Archive
บทความที่ได้รับความนิยม
-
แจกแบบฝึกคณิตศาสตร์ เป็น WorkSheet สำหรับให้เด็ก ๆ ฝึกทำ ชุดที่ 1 นี้เป็นการ บวกเลข 1,2,3,4,5,6,7,8,9 กับเลขหลักเดียวอื่น ๆ เหมาะกับเด็ก อ...
-
แจกแบบฝึกคณิตศาสตร์ เป็น WorkSheet สำหรับให้เด็ก ๆ ฝึกทำ ชุดนี้เป็นชุดที่ 7 การบวกทั้งแบบมีการทดและ ไม่มีการทด ของเลข 2 หลัก ชุดละ 40 ข้อ...
-
แบบฝึกการคูณ คณิตศาสตร์ ประถม แบบฝึกการคูณ ชุดที่1 แบบฝึกการคูณ ชุดที่2 แบบฝึกการคูณ ชุดที่3 แบบฝึกการคูณ ชุดที่4 แบบฝึกการคูณ ชุดที...
จำนวนการดูหน้าเว็บรวม
Labels
- 2557 (1)
- 3to7 (7)
- 6-12 ปี (1)
- 6Q (1)
- 7to9 (12)
- กรดไขมัน (1)
- การเขียน Essay (1)
- การคูณ (4)
- การดูแลฟันของลูก (2)
- การทดลองวิทยาศาสตร์ (4)
- การบวก (1)
- การบวกเศษส่วน (1)
- การบีบน้ำนมแม่ (1)
- การลบเลข 1หลัก (1)
- การล้างจมูก (2)
- การล้างมือ (1)
- การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ (7)
- การเลี้ยงลูกวัย 6-12 ปี (25)
- การเลี้ยงลูกวัยเรียน (31)
- การวัด (1)
- การหาร (4)
- เกมคณิตศาสตร์ (5)
- เกมเจ้าสีหาพวก (1)
- เกมพัฒนาสมองลูก (16)
- เกมแม่บอกทาง (1)
- เกมสร้างเสริมพัฒนาการ (19)
- เกมหาคำคล้องจอง (1)
- ข้อสอบคณิตศาสตร์ (2)
- ข้อสอบ ป.1 (2)
- ข้อสอบ ป.2 (1)
- คณิตคิดเร็ว (28)
- คณิตศาสตร์ (32)
- ความยาวรอบรูป (1)
- ความสัมพันธ์ (8)
- คออักเสบ (1)
- จตุรัสกล (1)
- โจทย์ปัญหา (1)
- เฉลย (2)
- ช่องปาก (1)
- ไซนัสอักเสบในเด็ก (1)
- ดนตรี (2)
- เด็กกินยาก (1)
- เด็กติดเกม (1)
- เด็กวัยเรียน (2)
- โดเรมอน (1)
- ตั้งโต๊ะกินข้าว (1)
- ตา (1)
- ทอนชิลอักเสบ (1)
- เทคนิคสอนลูกให้รักการอ่าน (1)
- ธาลัสซีเมีย (1)
- นมแม่ (2)
- นาฬิกา (1)
- นิทานก่อนนอน (1)
- บวกเลข (9)
- บวกเลข 2 หลัก (2)
- แบบฝึก (24)
- ใบงาน (17)
- ปฐมวัย (4)
- ประถม (24)
- ปวดท้อง (1)
- ปานแต่กำเนิด (1)
- เปรียบเทียบเศษส่วน (1)
- ผลสอบ (1)
- พว. (1)
- พัฒนาการ (31)
- พื้นที่ (1)
- พูดช้า (1)
- เพลงกล่อมเด็ก (1)
- เพลง Classic (1)
- ภาพระบายสี (1)
- ภาวะบกพร่องในทักษะการเรียน (3)
- ภาษาอังกฤษ (3)
- ม.4 (1)
- มหิดลวิทยานุสรณ์ (1)
- ไม่ยอมไปโรงเรียน (1)
- ร้องไห้ 3 เดือน (1)
- รักการอ่าน (1)
- โรคติดเชื้อ (1)
- โรคในเด็ก (7)
- โรคลมชัก (1)
- โรคหัวใจ (1)
- เลข 3 หลัก (1)
- เลิกขวดนม (1)
- เลี้ยงลูกให้มี E.Q.สูง (3)
- วัคซีน (3)
- วิทยาศาสตร์ (3)
- เวลา (1)
- ศิริราช (1)
- ศิลปะ (1)
- เศษส่วน (4)
- สมองดี (1)
- สมาธิสั้น (2)
- สี่เหลี่ยม (1)
- สุขภาพ (13)
- สุขภาพเด็ก (19)
- หนังสือ (1)
- หมู่โลหิต (1)
- อนุกรม (2)
- อนุบาล (13)
- อนุบาล 3 (5)
- อีโบลา (1)
- english (3)
- kids (7)
- LD (1)
- math (28)
- math3year (2)
- mathgame (6)
- mathtest (17)
- music (3)
- worksheet (31)
0 ความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น